ประวัติ

1) ชื่อ (ภาษาไทย) นาย ชนินทร เฉลิมสุข

(ภาษาอังกฤษ) Mr. Chanintorn Chalermsuk

2) วัน เดือน ปีเกิด 4 พฤษภาคม 2502

3) สถานที่ทํางาน สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

4) คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

5) ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่

[1] ชนินทร เฉลิมสุข และ อภิชาติคำปลิว. การพัฒนาระบบเตือนการรับประทานยาสําหรับผู้สูงอายุบนอุปกรณ์แอนดรอยด์แวร์.(2559)

การประชุมวิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์. วันอาทิตย์ที่ วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน 2559. โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี.

>>Full Paper<<

[2] ชนินทร เฉลิมสุข. การแก้ปัญหาการเข้าชั้นเรียนไม่ตรงเวลา ของนักศึกษาในรายวิชาการโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยการตรวจงานและการบันทึก

เวลาเข้าชั้นเรียนผ่านกูเกิ้ลคลาสรูม. (2558). การประชุมวิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์.วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน 2558 ณ

โรงแรม เอส.ดี.อเวนิว ปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร

>>Full Paper<<

6) ประวัติการไดร์ทุนวิจัย

ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์จํานวน 1 โครงการ

[1] การพัฒนาระบบเตือนการรับประทานยาสําหรับผู้สูงอายุบนอุปกรณ์แอนดรอยด์แวร์ การประชุมวิชาการระดับชาติ ปีการศึกษา 2557.

7) การบริการวิชาการ

[1] วิทยากรบรรยายการพัฒนาสื่อการสอนออนโลน์ด้วย Google Clsaaroom, Google Drive และ Google Site" ให้กับบุคลากรของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ (กศน.) กรุงเทพมหานคร ฝั่งธนบุรี

[2] วิทยากรโครงการอบรมและสอบมาตรฐานวิชาชีพไอทีของ สวทช.


[3] วิทยากร โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และการบูรณาการงานวิจัย เพื่อรองรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (วค.)

8) แนวปฏิบัติของนักวิจัยที่ดี

[1] มีความสื่อสัตย์ในทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัย ตั้งแต่ก่อนการดำเนินงานวิจัย ระหว่างการดำเนินงานวิจัย และหลังการดำเนินงานวิจัย รวมถึงการเผยแพร่ผลงานวิจัย และการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

[2] ให้เกียรติผู้อื่น โดยการอ้างถึงบุคคลผู้เป็นเจ้าของข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูล ความคิดเห็น ผลงาน และถ้อยคำที่นำมาใช้ในงานวิจัยอย่างถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน

[3] รับฟังข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น ข้อติติง และคำวิจารณ์เชิงวิชาการจากเพื่อนร่วมงานและผู้อื่นด้วยใจที่เป็นกลาง

[4] ทุ่มเทความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่วิจัย เพื่อให้งานวิจัยก้าวหน้า ได้ผลงานที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ

[5] มีอิสระทางความคิด และเสรีภาพทางวิชาการในการทำงานวิจัย เพื่อรักษามาตรฐานวิชาการ วิชาชีพ และจริยธรรม

[6] ไม่มีอคติในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การแปลผล การวิจารณ์ การสรุปผล และการให้ข้อเสนอแนะในการวิจัย

[7] เคารพศักดิ์ศรี และสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย และต้องไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาการจนละเลย และขาดความเคารพในศักดิ์ศรีของเพื่อนมนุษย์ ต้องถือเป็นภาระหน้าที่ที่จะอธิบาย โดยไม่หลอกลวงหรือบีบบังคับ และไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล

[8] เป็นแบบอย่างที่ดีในการทำวิจัย และการบริหารงานวิจัย รวมทั้งการรักษาและส่งเสริมจรรยาวิชาชีพวิจัยแก่นักวิจัยอื่นๆ